สวัสดี

ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: เอาไว้เล่าให้ลูกหลานฟัง ต้นกำเนิดคนอีสานมาจากไหนประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1,000 ปี  (อ่าน 3535 ครั้ง)

Admin
  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 36601
    • ดูรายละเอียด
เอาไว้เล่าให้ลูกหลานฟัง ต้นกำเนิดคนอีสานมาจากไหน ประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1,000 ปี ที่เราระลึกถึง


เอาไว้เล่าให้ลูกหลานฟัง ต้นกำเนิดคนอีสานมาจากไหน ประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1,000 ปี ที่เราระลึกถึง

          ซึ่งภาษาอีสานมันก็เป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีเสน่ห์เป็นอย่างมากและบ่งบอกถึงความเป็นภูมิภาคนั้นได้อย่างชัดเจนแต่ใครจะรู้ไหมว่าคนจากภาคอีสานนั้นแท้จริงแล้วมีชาติกำเนิดมาจากที่ไหนซึ่งในวันนี้เราก็จะพาทุกคนนั้นไปโรงเรียนรู้กันดูจะได้รู้กันว่าภาคอีสานนั้นต้นกำเนิดที่แท้จริงมาจากที่ใดกัน เรามาไขความลับนี้กันเลย
ไม่ต้องอธิบายก่อนว่าอีสานในบ้านเรานั้นถือเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่สามารถพูดได้ทั้งภาษาไทยและภาษาเราหรือเรียกกันว่าภาษาอีสานนั่นเองซึ่งทาง                                       
          ภาคอีสานนั้นจะยึดอาชีพหลักในการทำเกษตรกรเป็นซะส่วนใหญ่และถิ่นฐานเดิมของชาติพันธุ์นั้นก็จะมีอยู่ 2 แนวคิดด้วยกันนั่นก็คือ
1.ถิ่นเดิมของลาวอยู่ที่ภาคอีสาน โดยคนส่วนใหญ่น่าจะเป็นคนมาจากบ้านเชียงโดยมีการตั้งหลักแหล่งจากบ้านเชียงมาประมาณ 5-6 พันปี ซึ่งได้มีการพิสูจน์มาจาก หม้อบ้านเชียงมาแล้ว โดยมีอายุมากกว่า 5600 ปี ฉะนั้นก็ตีไปได้ว่าคนที่อาศัยอยู่บ้านเชียงนั้นจะมีการเลือกใช้หม้อและเป็นการใช้หม้อในครัวเรือนต้องมีอายุมากกว่า 5600 ปีอย่างแน่นอน
2. นอกจากจะอยู่ภาคอีสานแล้วก็มาจากที่อื่นด้วย ด้วยแนวคิดนี้คนทางอีสานก็มีความคิดนี้อยู่เหมือนกันเพราะทางภาคอีสานนั้นมีอายุประมาณ 1 ปีมาแล้ว                   
          ซึ่งไม่มีนักมานุษวิทยาและนักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่า ผู้คนเหล่านี้ได้มีการอพยพจากกลุ่มชนชั้นละโว้หรือขาลงมาอยู่ในแดนสุวรรณภูมิในทางภาคอีสานของบ้านเรามาอย่างยาวนานและแยกเป็น 3 อาณาจักรนั่นก็คือ อาณาจักรทราวดี อาณาจักรโยนก และอาณาจักรโคตรบุตร โดยหลักจะเป็นผู้ที่มาสร้างอาณาจักรตามแนวราบลุ่มแม่น้ำโขง
          โดยนี้ก็คือความคิดของนักมานุษวิทยาและนักประวัติศาสตร์จึงได้มีการเรียกว่าคนเหล่านี้เป็นคนภาคอีสานอย่างแน่นอนแต่คนภาคอีสานนั้นก็มีหลากหลายกลุ่มเชื้อการปรับเปลี่ยนกันไปโดยกลุ่มช่วยพันส่วนใหญ่ที่คาดว่าจะมีอยู่ด้วยนั่นก็คือ อ้ายลาว
          ซึ่งถือว่าสอดคล้องกับข่าวที่นักวิชาการบางคนได้มีการกล่าวไว้ว่าหลังจากที่ ทั้งชาติไทยสมัยก่อนได้หมดอำนาจลงมีสารก็ถูกครอบครองโดย ขอมและอ้ายลาวแต่ต่อมาก็เสื่อมอำนาจลงจึงทำให้กลายเป็นดินแดนของประเทศไทยในปัจจุบัน
          จึงเรียกได้ว่าๆหนาวหนาวก็ถือเป็นกลุ่มพันชาติติพันธ์อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ มองโกลเดิมที่อยู่ทางด้านตอนบนของแม่น้ำ แยงซีเกียงและแม่น้ำเหลืองและมีสำเนียงการพูดที่คล้ายคลึงกับคนไทยอีสานมาก
          โดยเคยได้เข้ามาอพยพและครอบครองในบริเวณพื้นที่อีสานและได้รวมตัวกันสร้างเมือง 3 เมืองด้วยกัน
นั่นก็คือนครลุงนครนายกและนครปลาหลังจากนั้นๆลาวก็ได้เกิดการสู้รบกับจีนและสาเหตุนั้นทำให้จีนนั้นได้แย่งดินแดนของไอ้ลาวและทำให้อ้ายลาวนั้นอพยพลงใต้ค่อยลดลงมาจนอยู่ในอาณาจักรยูนนานในปัจจุบัน
จากนั้นทางๆลาวก็ได้มีการอพยพมาตั้งอาณาจักรใหม่ที่มีชื่อว่า จักรหนองแส และได้ส่งลูกหลานไปปกครองเมืองทั้ง 7 ที่มีชื่อว่าดังนี้
1.ขุนล้อของเมืองชวาหรือหลวงพระบาง
2. ขุนยีผาลาน ครองเมืองสิบสองพันนา
3. ขุนสามจูสง ครองเมืองปะกัน
4. ขุนไขสง ครองเมืองสุวรรณโดมคำ
5. ขุนงัวอิน ครองเมืองอโยธยา
6. ขุนลกกลม ครองหงสาวดี
7. ขุนเจ็ดเจือง ครองเมืองเชียงขวาง
          โดยพี่น้องทั้ง 7 ก็ต่างปกครองเมืองฉบับเมืองพี่เมืองน้องมีอะไรก็ช่วยเหลือกันและได้บัญญัติคำสาบานร่วมกันว่าจะไม่รบแยกแผ่นดินแต่อย่างใดซึ่งถือว่ากลุ่มคนเหล่านี้จะเป็นกลุ่มที่เกี่ยวโยงกับคนชาติพันธุ์อีสานที่อยู่ในภาคอีสานบ้านเราในตอนนี้และคาดว่าจะเป็นกลุ่มคน
          ลาวเชียงรายลาวเวียงโดยมีกลุ่มมาจากอาณาจักรล้านนาและกลุ่มอาณาจักรล้านช้างนั่นเองโดยในพุทธศตวรรษที่ 17-18 เริ่มตั้งแต่สร้างเมืองชวาก็มีกษัตริย์ปกครองติดต่อกันมาถึง 22 องค์
          ซึ่งทั้งหมดนี้ก็สรุปได้ว่า กลุ่มชาติพันธุ์ลาวต่างๆได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ในภาคอีสานของเรามาอย่างช้านาน
ปล่อยคนที่อยู่ในท้องถิ่นอีสานก็ถือว่าเป็นเชื้อสายลาวที่มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานและสืบทอดสายทางประวัติศาสตร์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั่นเอง

          ภูมิภาคอีสาน เป็นดินแดนที่ปรากฏหลักฐานและร่องรอยที่มีความสำคัญในอดีตอันมีความเนื่องมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน มีการค้นพบหลักฐานของมนุษย์โบราณตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์อารยธรรมโบราณสมัยประวัติศาสตร์และพัฒนาการของชุมชนจนถึงยุคปัจจุบัน

ที่มา https://www.todsob-tuaeng.com